 |
Title: Guidelines for
Leaders |
Author: Konosuke
Matsushita |
My Rating:
 |
|
|
|
Summary |
หนังสือเล่มนี้เป็นเล่มที่ 3 ในชุดของ The Art and Wisdom of
Management ที่ถ่ายทอดแนวคิดการบริหารของ Konosuke Matsushita
เล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับผู้นำ โดยแบ่งเนื้อหาเป็น 5 บท
ผมสรุปเนื้อหาใจความและประเด็นสำคัญของแต่ละบทดังนี้ครับ
|
Chapter One: Employees
พูดเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และบทบาทของหัวหน้า
มีข้อคิดดี ๆ สำหรับบทนี้คือ
การมีทัศนคติเชิงบวกต่อทั้งจุดเด่นและจุดด้อยของพนักงาน
เพื่อให้การเลื่อนตำห่าง
แต่มันเป็นหน้าที่ของหัวหน้าที่ต้องบริการจัดการเรื่องพนักงานให้มีความเหมาะสมกับงาน
ข้อสำคัญการไม่ปัดความผิดให้พนักงานเมื่องานไม่สำเร็จ
เพราะความไม่สำเร็จหัวหน้ามีส่วนในการสร้างทีมงานที่ไม่เหมาะสม
จึงควรหาทางแก้ไขและเพิ่มประสิทธิ์ภาพ
Chapter Two: Attitudes and Discipline
พูดเกี่ยวกับภาพใหญ่ขององค์กรที่ต้องสร้างความเชื่อมั่น
(ความศรัทธา) การทำงานที่มีประสิทธิผล
พนักงานต้องมีความเชื่อมั่นที่จะทำ
อย่างก็ดีต้องมีความอ่อนน้อมถ่อมตนด้วย
“ความเชื่อมั่นที่ไม่มีความอ่อนน้อมถ่อมตนก็เหมือนกับเป็นอันธพาล”
นอกจากนั้นพนักงานต้องมีความสุขหรือสนุกกับงานที่ได้รับมอบหมาย
นอกจากนั้นเราควรพัฒนาตนเอง วันหยุดประจำสัปดาห์ 2 วัน
ควรแบ่งเป็นเวลาพักและเวลาที่ใช้ในการพัฒนาตนเอง
Chapter Three: Organization
มีคำเด็ด ๆ เช่น Bureaucracy Blocks Communication
คือในองค์กรใหญ่ ๆ จะมีชั้นของการบริหาร
สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องขัดขวางในการสื่อสารภายในองค์กร
ทั้งจากบนลงสู่ล่าง และจากล่างขึ้นสู่บน
องค์กรในปัจจุบันมีคนที่ประสบการณ์เยอะและมีอายุการทำงานที่เยอะอยู่แล้ว
แต่อาจขาดคนที่เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีหรือข้อมูลใหม่ ๆ
บางครั้งคนทำงานเก่า ๆ ก็ถูกท้าทายโดยคนเก่งรุ่นใหม่ ๆ
คนส่วนใหญ่ที่มีอยู่มักมีความสามารถในการทำงานแบบปกติ
แต่มีส่วนน้อยที่สามารถจัดการเมื่อองค์กรต้องมีเหตุฉุกเฉินหรือต้องมีการพัฒนาเป็นพิเศษ
Chapter Four: Responsible Management
ผู้ที่ตัดสินใจต้องรับผิชอบในสิ่งที่ตัวเองตัดสินใจ
บ่อยครั้งที่เกิดความล้มเหลวหัวหน้ามักโทษว่าเป็นความผิดของลูกน้อง
ผู้เขียนได้นำเสนอแนวคิด autonomous management
คือการกระจายการตัดสินใจ
พนักงานระดับล่างที่มีหน้าที่ก็ควรมีสิทธิ์ตัดสินใจว่าทำอย่างไรให้หน้าที่ของตนสามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธ์ภาพ
Chapter Five: Learning
ปัญหาคือครูที่ดี ผู้เขียนใช้คำว่า Recession Academy
หมายถึงเราจะไม่ค่อยพัฒนาตัวเองตอนที่ทุกอย่างยังไปได้ดี
มีคำศัพท์อยู่คำหนึ่งที่ผมให้ความสนใจเป็นพิเศษ คือคำว่า
Weakness of the intellectual
คือสิ่งที่เราเรียนรู้มาก่อนทำให้เราถูกทำให้คล้อยตามว่า
มันเป็นไปไม่ได้ มันยาก ดังนั้นเราจึงแพ้ก่อนที่จะลงมือทำ
การใช้ความรู้จึงต้องอาศัยองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น
การประยุกต์กับสถานการณ์จริง ผู้เขียนบอกว่าเหมือนการชิมเกลือ
คือเราอาจมีความรู้ว่าเกลือเค็ม
แต่เราก็ไม่รู้ว่าเค็มคืออะไรจนกว่าเราจะชิมมันด้วยตัวเอง
My Opinion
Konosuke Matsushita
เป็นหนึ่งในผู้นำด้านบริหารธุรกิจของญี่ปุ่น
ได้รับการยอมรับทั้งจากคนญี่ปุ่นและคนต่างประเทศ
อย่างไรก็ดีการให้คะแนนหนังสือเล่มนี้
ผมก็คงต้องเน้นย้ำว่าแค่เป็นความคิดเห็นส่วนตัว
หนังสือเล่มนี้ให้แนวคิดบางประเด็นที่เป็นแนวคิดเฉพาะตัว เช่น
Bureaucracy Blocks Communication หรือWeakness of the
intellectual ซึ่งอันนี้ผมชอบนะ แต่ก็มีสิ่งที่ผมไม่ชอบ
(อันนี้ส่วนตัวนะครับ) คือ เนื้อหาที่นำเสนอเป็นด้าน ๆ ก็เลย
ทำให้หารูปแบบหรือข้อสรุปยาก ไม่ใช่ไม่ดีนะครับ แค่ผมไม่ชอบ
ผมเลยให้คะแนน 3 ดาว ครับ
Chapter One: Employees
พูดเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และบทบาทของหัวหน้า
มีข้อคิดดี ๆ สำหรับบทนี้คือ
การมีทัศนคติเชิงบวกต่อทั้งจุดเด่นและจุดด้อยของพนักงาน
เพื่อให้การเลื่อนตำห่าง
แต่มันเป็นหน้าที่ของหัวหน้าที่ต้องบริการจัดการเรื่องพนักงานให้มีความเหมาะสมกับงาน
ข้อสำคัญการไม่ปัดความผิดให้พนักงานเมื่องานไม่สำเร็จ
เพราะความไม่สำเร็จหัวหน้ามีส่วนในการสร้างทีมงานที่ไม่เหมาะสม
จึงควรหาทางแก้ไขและเพิ่มประสิทธิ์ภาพ
Chapter Two: Attitudes and Discipline
พูดเกี่ยวกับภาพใหญ่ขององค์กรที่ต้องสร้างความเชื่อมั่น
(ความศรัทธา) การทำงานที่มีประสิทธิผล
พนักงานต้องมีความเชื่อมั่นที่จะทำ
อย่างก็ดีต้องมีความอ่อนน้อมถ่อมตนด้วย
“ความเชื่อมั่นที่ไม่มีความอ่อนน้อมถ่อมตนก็เหมือนกับเป็นอันธพาล”
นอกจากนั้นพนักงานต้องมีความสุขหรือสนุกกับงานที่ได้รับมอบหมาย
นอกจากนั้นเราควรพัฒนาตนเอง วันหยุดประจำสัปดาห์ 2 วัน
ควรแบ่งเป็นเวลาพักและเวลาที่ใช้ในการพัฒนาตนเอง
Chapter Three: Organization
มีคำเด็ด ๆ เช่น Bureaucracy Blocks Communication
คือในองค์กรใหญ่ ๆ จะมีชั้นของการบริหาร
สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องขัดขวางในการสื่อสารภายในองค์กร
ทั้งจากบนลงสู่ล่าง และจากล่างขึ้นสู่บน
องค์กรในปัจจุบันมีคนที่ประสบการณ์เยอะและมีอายุการทำงานที่เยอะอยู่แล้ว
แต่อาจขาดคนที่เชี่ยวชาญในเทคโนโลยีหรือข้อมูลใหม่ ๆ
บางครั้งคนทำงานเก่า ๆ ก็ถูกท้าทายโดยคนเก่งรุ่นใหม่ ๆ
คนส่วนใหญ่ที่มีอยู่มักมีความสามารถในการทำงานแบบปกติ
แต่มีส่วนน้อยที่สามารถจัดการเมื่อองค์กรต้องมีเหตุฉุกเฉินหรือต้องมีการพัฒนาเป็นพิเศษ
Chapter Four: Responsible Management
ผู้ที่ตัดสินใจต้องรับผิชอบในสิ่งที่ตัวเองตัดสินใจ
บ่อยครั้งที่เกิดความล้มเหลวหัวหน้ามักโทษว่าเป็นความผิดของลูกน้อง
ผู้เขียนได้นำเสนอแนวคิด autonomous management
คือการกระจายการตัดสินใจ
พนักงานระดับล่างที่มีหน้าที่ก็ควรมีสิทธิ์ตัดสินใจว่าทำอย่างไรให้หน้าที่ของตนสามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธ์ภาพ
Chapter Five: Learning
ปัญหาคือครูที่ดี ผู้เขียนใช้คำว่า Recession Academy
หมายถึงเราจะไม่ค่อยพัฒนาตัวเองตอนที่ทุกอย่างยังไปได้ดี
มีคำศัพท์อยู่คำหนึ่งที่ผมให้ความสนใจเป็นพิเศษ คือคำว่า
Weakness of the intellectual
คือสิ่งที่เราเรียนรู้มาก่อนทำให้เราถูกทำให้คล้อยตามว่า
มันเป็นไปไม่ได้ มันยาก ดังนั้นเราจึงแพ้ก่อนที่จะลงมือทำ
การใช้ความรู้จึงต้องอาศัยองค์ประกอบอื่น ๆ เช่น
การประยุกต์กับสถานการณ์จริง ผู้เขียนบอกว่าเหมือนการชิมเกลือ
คือเราอาจมีความรู้ว่าเกลือเค็ม
แต่เราก็ไม่รู้ว่าเค็มคืออะไรจนกว่าเราจะชิมมันด้วยตัวเอง |
|
My Opinion |
Konosuke Matsushita
เป็นหนึ่งในผู้นำด้านบริหารธุรกิจของญี่ปุ่น
ได้รับการยอมรับทั้งจากคนญี่ปุ่นและคนต่างประเทศ
อย่างไรก็ดีการให้คะแนนหนังสือเล่มนี้
ผมก็คงต้องเน้นย้ำว่าแค่เป็นความคิดเห็นส่วนตัว
หนังสือเล่มนี้ให้แนวคิดบางประเด็นที่เป็นแนวคิดเฉพาะตัว เช่น
Bureaucracy Blocks Communication หรือWeakness of the
intellectual ซึ่งอันนี้ผมชอบนะ แต่ก็มีสิ่งที่ผมไม่ชอบ
(อันนี้ส่วนตัวนะครับ) คือ เนื้อหาที่นำเสนอเป็นด้าน ๆ ก็เลย
ทำให้หารูปแบบหรือข้อสรุปยาก ไม่ใช่ไม่ดีนะครับ แค่ผมไม่ชอบ
ผมเลยให้คะแนน 3 ดาว ครับ |
|